27 มีนาคม 2555

The hunger for a home

Chularat SaengpassaThe Nation March 22, 2012 1:00 am

นั่งพูดคุยกับ Case ที่สะพานพุทธ พิการนั่งรถเข็น อยู่สะพานพุทธมากว่า 30 ปี
Two questions to ask Bangkok's street people: |Why are you here? Is this where you want to stay?
The sight of an obviously homeless person on a city street naturally evokes feelings of sympathy, but often you might also get the sense that person is exactly where he wants to be. Maybe you're right to feel that way too - but not in most cases.
A meek and scruffy man sits on the lawn of Sanam Luang with the proud and polished Temple of the Emerald Buddha a stark contrast in the background. In his tatters and beard he looks dauntingly crazy, but turns out to be quite friendly.
He remembers growing up playing basketball in Phetchaburi. Then his parents died and left him Bt80,000, and he came to Bangkok in search of something - but he's long since forgotten what it was.
On his first night in the capital he got drunk and someone stole all that money.
The man on the lawn resells bits of things he finds in the trash and is trying to save up enough money to get back to Phetchaburi. His immediate responsibility is "guarding" a woman who's stretched out nearby, sleeping off a boozy night.
Somyot Phurayong, who patrols the area for the city, came by on a motorcycle and assigned him the task. Somyot's thankless job is clearing the royal ground's footpaths of homeless loiterers, especially first thing in the morning and at noon.
His superiors wouldn't appreciate the scene at the moment. The homeless have reclaimed newly refurbished Sanam Luang.
Phetcharat, a former boxer who's lived in a tent near Khlong Lod for 10 years, is paid in meals to serve as watchman for shop owners. He has no money at all and says "disgrace" prevents him from returning to his home province.
"Granny" Panchana is snoozing under a tree, but soon she'll wake up and splice more rope to sell at Khlong Lod Market.555 โดนท่านแม่ใต้สะพานปิ่นเกล้า หอมแก้ม
This is how Kasem Chantawong spent 40 years of his life. He came to Bangkok from Ratchaburi looking for his brother but couldn't find him, so he ended up wandering around, earning money as a garbage scavenger and attending merit-making ceremonies as far away as Ayutthaya to cadge the free give-aways.
"But I never begged," he wants to stress. "All those years I wanted to return home, but I never had any money." In any event, he'd lost track of his seven siblings. Only recently did the welfare-minded Issarachon Foundation track down his aunt's daughter. She was willing to take him in.
"Homeless people don't 'love their freedom' as much as the general public believes," says foundation secretary general Natee Soravaree. "They're usually ready to go home and settle into a new life if we can help."
Natee also recently helped a 60-year-old woman return home to Buri Ram. She'd left when she was 17, deserted by her husband, who was also her brother. She had a baby and then took off, finding work in Bangkok as a prostitute.
Natee spent a year gaining her trust. Once he has someone's trust, he can ascertain their identity and verify their story. He's often given fake names, either in deliberate lies born of fear or in delirium born of stress. He's seen many homeless people die as "John Doe" or "Jane Doe", impossible to identify.
But in five years the foundation has helped about 300 people find new lives. Getting them a new ID card is like reinstating their existence.
The patience that Natee musters to slowly win the confidence of the people he's trying to help is sometimes rewarded, sometimes not. He's been cruelly kicked. He's also been helped in turn, as when an old man guarded his camera equipment when Natee unexpectedly nodded off on the grass himself.
"Those who don't want to return home refuse to share any information with us," he says. "They think that if society doesn't regard them as human, they might as well be ghosts, surrendering everything.
"But many homeless people dream of returning to their original homes, just to regain some dignity, if they only had Bt5,000 or Bt10,000."
On more than a few occasions the destitute homeless turn out to have come from wealthy families. "What happened that drove them away? Do they love freedom that much? No!" Natee insists. "Our mission is to find out what pushed them out. You can't just assume they love 'freedom' and then ignore the real problems they're facing."
A recent foundation survey found the number of street people increasing steadily in Bangkok, 110 more last year than there were in 2010. Last year they counted 2,561 people, of whom 1,630 were male.
Every day Kasem roamed about Sanam Luang clutching a bag of clothes, his sole possession. He spent the days under shade trees. In the evenings he was allowed to sit in front of food shops, but the occasional handouts didn't fill his stomach. He washed when he could.
After the government's Welfare and Social Development Department initiated assistance for street nomads five years ago, Kasem was persuaded to accept shelter at the Mitrmaitree Home. "They asked me nicely to come here," he says, still a little amazed. "Before, all they wanted to do was arrest me!"บ้านมิตรไมตรีกรุงเทพ นำของมามอบให้เด็กน้อยที่เพิ่งเกิด
His relative was tracked down and he was issued a new ID card. Kasem was glad to reunite with his remaining family - the cousin and her husband - but within three days he decided he was too much of a burden for them. Their income wasn't much. So he returned to the Mitrmaitree Home, where he helps with the cleaning and gardening.
The facility is only for people under 75, however, so Kasem is going to have to leave soon. In the meantime, though, his cousin has built a small house for him and he'll have an elderly allowance deposited in the bank. He thinks he can also get a job as a supervisor at a local mushroom farm.
"I never paid attention to the funny looks I got from passers-by - if they wanted to stare, so what?" he says of the street life. "But all the time I dreamed that one day, when I had some money, I'd build my own home."
That dream has been fulfilled, in a roundabout way, and Natee hopes that more understanding and help is coming for others like Kasem, the homeless folks whose numbers will only continue growing without it.

12 มีนาคม 2555

ผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะ : พลเมืองที่ได้เวลามองเห็นเขา

         หลังจากที่มูลนิธิเปิดเผยข้อมูลที่ได้จากการทำการสำรวจแบบปูพรมเต็มพื้นที่ในเขตกรุงเทพมหานครไป จนทำให้สังคมเกิดความตื่นตัวช่วงระยะเวลาสั้น ๆ ในการหันมาให้ความสนใจกับประเด็นปัญหาดังกล่าว แต่เรื่องราวดังกล่าวกำลังจะได้รับการลืมเลือนและหายเข้าไปในสายลมร้อนในอีกไม่ช้า เพราะคนไทยจำนวนมากยังไม่ตระหนักว่าปัญหาการเพิ่มจำนวนขึ้นของผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะเกี่ยวข้องอะไรกับตนเอง ?


กรุงเทพมหานครมหานครที่มีเชื่อเสียงระดับโลก ที่เป็นศูนย์รวม ศูนย์กลางของการบริหารหลายสิ่งหลายอย่าง ที่มีสถานที่สำคัญของสามสถาบันชาติตั้งอยู่ มีพระบรมมหาราชวัง มีรัฐสภา มีศาลฏีกาสูงสุด มีกระทรวง ทบวง กรม ต่าง ๆ รวมกันอยู่ที่นี่ และในขณะเดียวกันกับที่มีสิ่งเหล่านี้อยู่ กรุงเทพมหานคร ก็มีคนรากหญ้ารากฝอย อยู่ในที่แห่งเดียวกันนี้ด้วย ?? แทบทุกพื้นที่ของที่สาธารณะในเขตเมืองหลวงแห่งนี้จะคราคร่ำไปด้วยผู้คน ที่ได้รับการขนานนามจากนักวิชาการ จากภาคราการ จากสื่อมวลชน จากคนทั่วไป ไปต่าง ๆ นานา คนเร่ร่อนบ้าง คนไร้บ้านบ้าง คนเร่ร่อนไร้บ้าน ไปจนถึงบางคนเรียกว่าคนจรจัด ?? เราเองก็ใช่ย่อยพยายามสร้างวาทกรรมใหม่ที่เวลาแปลออกมาเป็นภาษาอังกษดันไปถูกตาต้องใจเข้าว่า ผู้ที่ใช้ชีวิตในที่สาธารณะ ..
แบ่งปันด้วยนอบน้อม
ไม่ว่าจะเรียกขานเขาอย่างไรก็ตาม เชื่อหรือไม่ว่า คนกลุ่มนี้ ไม่เคยได้รับการเหลียวแลเอาใจใส่อย่างจริงจัง หรือ ปฏิบัติกับเขาเหมือนคน ๆ หนึ่งที่มีสิทธิ์มีเสียงเท่ากับคนอื่น ๆ แต่กลับได้รับการยัดเยียดความช่วยเหลือผ่านมาตรการที่รัฐเป็นคนคิดค้นการให้ความช่วยเหลือขึ้นมาเอง ไล่ตั้งแต่ การไล่กวด กาวดจับ ไล่ต้อนมาลงทะเบียน จับขึ้นรถ พาไปอยู่ที่ ๆ เรียกกันว่า สถานสงเคราะห์คนไร้ที่พึงบ้าง บ้านกึ่งวิถีบ้าง และที่สำคัญที่กล่าวถึงเรื่องนี้ทีไรอดที่จะกล่าวถึงไม่ได้ คือการจับแยกคน แยกครอบครัวออกจากกัน พ่อไปทาง แม่ไปทาง ลูกไปทาง อ้างว่าเพื่อง่ายต่อการดูแล แต่ ไม่นึกถึงความเป็นครอบครัว

บางครั้งก็น้อยใจแทนเขาเหมือนกันเมื่อดูภาพข่าว คนในสังคมทุกระดับ ทุกชนชั้น ไปช่วยเหลือคนไทยในที่อื่น ๆ แต่กลับลืมคนที่อยู่แค่ปลายจมูก คนที่ เวลามีขบวนเสด็จขับผ่าน สนามหลวงหรือคลองหลอด จะชะเง้อมองพนมมืออย่างเคารพบูชาสุดเศียรสุดเกล้า หรือขบวนบุคคลสำคัญในรัฐบาลคนอื่น ๆ ผ่าน ก็จะ ยืนตัวตรงแสดงความเคารพ โดยที่ ไม่เคยมีใครรับรู้หรือเหลียวมองคนกลุ่มนี้เลยแม้แต่น้อย แต่ในขณะเดียวกัน หากมีงานอะไรสำคัญ ๆ ที่ต้องใช้พื้นที่สาธารณะต่าง ๆ ในเขตกรุงเทพมหานคร คนกลุ่มนี้ จะเป็นกลุ่มแรก ๆ ที่จะต้องมีการจัดการให้ ออกไปจากพื้นที่ที่เขากินอยู่หลับนอนเติบโตที่นี่ ?? เพียงเพื่อจัดฉากต้อนรับแขก ?? หรือ เมื่อใดพ่อเมืองกรุงเทพมหานคร อยากจะแสดงผลงาน แสดงพละกำลังแสดงอำนาจ การประกาศจัดระเบียบพื้นที่สาธารณะดูจะเป็นสีสันแรก ๆ ที่ พ่อเมืองแต่ละคน จะลงมือทำอย่างไม่ค่อยจะรีรออะไร ??
และเมื่อย้อนกลับมาพูดถึงงานอาสาสมัครที่จะหาคนลงมาทำงานแบบจริงจังไม่ฉาบฉวย ยิ่งหายากกันเข้าไปใหญ่ เพราะ เมืองหลวงแห่งนี้ ไม่มีภูเขาสูง ๆ ให้นั่งถ่ายรูปมาอวดเพื่อน ไม่มีอากาศดีดี ไม่มีเสียน้ำตก ไม่มีป่าไม้ ที่จะมีแรงดึงดุดพอจะให้คนที่อ้างจิตอาสามาทำงานกับพวกเขา มีเพียง ซากอารยะธรรมที่ ความเจริญกระแทกจิตวิญญาณของคน ๆ หนึ่งที่หอบหิ้วความหวังมาจากแดที่ห่างไกลออกไป มาพบความพ่ายแพ้ที่นี่ หรือบางคนก็ หนีความซ้ำซากจำเจจากความเจริญทางวัตถุที่บ้านที่จากมา มาหาความจริงใจ รอยยิ้มจากเพื่อนพ้องที่กินและนอนด้วยกันที่ข้างถนน มีแต่กลิ่นขี้กลิ่นเยี่ยวตลบอบอวลไปทั่ว แต่ที่มีอย่างหนึ่งที่ คนในเมืองที่ไม่เคยมาที่สนามหลวงจะไม่มีโอกาสได้สัมผัส คือ ความเงียบสงบ ลมเย็น ๆ เมื่อนั่งกลางสนามหลวง ใครจะเชื่อว่า เมื่ออยู่กลางสนามหลวง บรรดาเสียงรถยนต์ ที่วิ่งกันขวักไขว่ จะมีเพียงเสียงแว่ว ๆ แถมยังมีลมเย็น ๆ ที่พัดมาเป็นระยะ ๆ ให้ได้หลับได้นอนอย่างมีความสุข ???

จะมีซักกี่คน ที่ใช้เส้นทางผ่านสนามหลวงคลองหลอดบ่อย ๆ จะหยุดรถ แล้วลงเดินมาทักทาย พลเมืองไทย ประชาชนอีกกลุ่มที่ อยู่ในประเทศเดียวกันกับเรา เพื่อให้ได้รับรู้กันและกันว่า ต่างฝ่ายต่างยังมองเห็นกัน ไม่ได้ลืมเลือนกันไป ???
ใครที่พอมีเวลา หนึ่ง หรือสองวัน ในแต่ละสัปดาห์ โดยเฉพาะวันอังคารและวันศุกร์ เวลาตั้งแต่ 13:00 น. เป็นต้นไปจนถึง 17.00 น.หรือวันไหนจะมีการลงพื้นที่ภาคกลางคืน อาจจะแวะมาที่คลองหลอด มาพบกับอาสาสมัครกลุ่มเล็ก ๆ ที่ยังลงมาเรียนรู้ด้วยความสุขและสนุกในสิ่งที่ทำกันมาอย่างต่อเนื่องยาวนานหลายปี แล้วคุณเองอาจจะค้นพบความหมายอะไรบางอย่างของเมือง ของประเทศนี้ ที่คุณเคยเชื่อว่า คนด้อยโอกาสจะอยู่ในที่ ที่ห่างไกลความเจริญอย่างเมืองหลวงแห่งนี้เพียงเท่านั้น
ก่อนนอนวันนี้ คุณลองมองออกไปที่นอกหน้าต่างบ้านของคุณสิว่า ยังมีใครที่ต้องนอนขดตัวใต้ผ้าผืนเก่า ๆ ขาด ๆ หรือไม่ และถ้าคุณมีผ้าห่มของคุณเองที่คร่ำคร่าแล้ว คุณไม่ต้อทิ้งหรอก เช้าวันรุ่งขึ้น แค่ พับผ้าผืนนั้นแล้วเดินเอาไปให้เขา เท่านี้ คุณก็สร้างความสุขให้สังคมร่วมกับเราได้แล้ว มันไม่ได้ยาก แต่ อยู่ที่ว่า เริ่มแล้วหรือยัง ??

คำถามแรกที่ อยากถามสังคมกลับ คือ คุณรู้ไหมว่ามีคนที่ออกมาใช้ชีวิตในที่สาธารณะ ...... ?

คำตอบที่เจอคือรู้ รู้แล้วอย่างไร ก็แค่รับรู้ ไม่ได้เกี่ยวข้อง แต่คุณรู้ไหมว่าสิ่งที่คุณมองว่ามันไม่ได้เกี่ยวข้องนั้น ถ้าวันหนึ่งของในครอบครัวคุณ ออกมาอยู่ในที่สาธารณะ ไม่ว่าจะด้วยสาเหตุใด  ๆ ก็ตาม เช่น ความจำเสื่อม มีอาการทางจิต หรือต้องหายออกจากสังคม ที่เขาเคยอยู่ เคยเป็น เคยมี คุณจะตามหาไหม หรือเพียงแค่รับรู้เฉลย 
คาดว่า ขอทาน เขมร ตลาดนัดแถว ๆ สำนักงานเขตคลองสามวา
หลายคนบอกว่า คนเหล่านี้ รักอิสระ ? ในความเป็นจริงมันจริง ๆ หรอ คำว่า "รักอิสระ"เป็นคำที่สังคมยัดเหยียดให้เขาเองหรือเปล่า พอตัดสินเขาเองว่าเขารักอิสระ ไม่ชอบมีกฏเกณฑ์ พอมีนักข่าวลงมาสัมภาษณ์ คนที่อยู่ในที่สาธารณะก็จะบอกทันทีว่า รักอิสระ เพราะไม่อยากตอบคำถามให้มาก เท่านั้นแหละจบ นักข่าวก็จะไม่ถามต่อ ก้กลายเป็นว่า รักอิสระ คนเหล่านี้รักอิสระ แต่สุดท้ายที่เราอิสรชนลงพื้นที่ใช้เวลากว่า 10 ปี ในการทำงานในพื้นที่ ที่เรียกว่า เขาเป้นเหมือนญาติ เหมือนเพื่อน ที่เขาพร้อมพูดคุยกับเราได้ทุกเรื่อง เอาเข้าจริงไม่มีใครเลยรักอิสระ 

อย่างลุงชัยพร ที่จบป.โท จากเมืองนอก มาเร่ร่อนที่สนามหลวง ที่เพิ่งลงข่าวไทยรัฐ ดูเหมือนว่าสุดท้ายบทสรุปคือรักอิสระ อยู่คนเดียว เข้ากับใครไม่ได้ แต่จริง ๆ พอลึกลงไป คือปมปัญหาครอบครัว ที่ทำให้เขาสุดท้ายก็ไม่กลับสู่ครอบครัว ที่กลับไม่ได้ มันไม่เหมือนเดิม ถึงแม้จะเจอลูก เจอญาติ แต่ก็ไม่เหมือนเดิม คนที่ออกมาใช้ชีวิตในที่สาธารณะ ทุกคน ย้ำว่าทุกคนมีปม ที่ทำให้ตนต้องออกมาจากบ้าน ภาวะการกดดันจากครอบครัว ความคาดหวัง การกดทับ ในสังคมครอบครัว จนกลายเป็นสังคมชุมชน ทำให้คนคนหนึ่งต้องทำตัวหายสาบสูญ ไม่มีตัวตนในสังคมดีกว่า 

มาต่อด้วยการดื่มเหล้า ทุกคนมีปัญหาดื่มไหม โดยส่วนใหญ่ดื่ม ก็ไม่ต่างกัน คุณดื่มไวน์ราคาเป็นแสน กับเหล้าขาวราคา 40 บาท ก็เมาเหมือนหมาเช่นกัน แต่อาจจะเมาคนละทีคนละทาง หรือบางที คนรวยก็มาเมากับคนข้างถนน เพราะออกจากร้านมาเจอกัน คุยกันถูกคอ ในเมื่อประเทสยังขายเหล้าก็คงตัดสิ้นคนจากการดื่มไม่ได้หรอ เขาไม่มีเพื่อน เหล้าก็คือเพื่อน กินเพื่อลืม กินเพื่อนอนให้ได้ในข้างถนน ต่าง ๆ นานา 

คำถามต่อมา คุณเคยเห็นเขาบ้างไหม ..... 
 

สิ่งที่ อิสรชนอยากให้คุณเห็นคือ เห็นว่าเขาคนที่ออกมาใช้ชีวิตในที่สาธารณะ เป็นคนเท่ากันกับเรานี้แหละ มี 32 เท่ากัน มีสิทธิความเป็นคนเท่ากัน แต่สิ่งที่เขาไม่มีคือ เขาไม่มีเสียงที่จะเรียกร้องสิทธิ หรือเรียกร้อง บอกกล่าว หรือรับรู้ ในสิ่งที่เขาควรได้ตามสิทะิของเขา เช่น ยามเจ็บป่วย ตัวมอมแมม ไม่อาบน้ำ สถานพยาบาลส่วนใหญ่ด่านแรกก็ไม่รับและ ไล่กลับ ด่า มองว่าเป็นคนบ้า เพียงเพราะอะไร เพราะทัศนคติ ที่ตัดสินคนจากภายนอก หลายคนคงเคย ถ้าคุณแต่งตัวบ้าน ๆ ไปในที่หรูหรา หรือแค่สถานพยาบาล สถานราชการ ก็ถูกมองแต่หัวจรดเท้า แต่ถ้าแต่งอย่างหรูหรามีระดับ คุณจะเป็นเทวดาทันที การเลือกปฏิบ้ติมีทุกที  เมื่อเร็ว ๆ พยาบาลท่านหนึ่งจากจุฬาฯ ลงมาในพื้นที่ มาพูดคุย อึ้งว่าทำไหม สนามหลวง เหมือนมีบริการ ที่ครอบวงจร แต่ไม่มีหน่วยสถานพยาบาลใด ๆ ลงมาเลยสักครั้ง แต่ละเดือน มีคนตายข้างถนน ที่สังคมไม่เคยรับรู้เลย เฉลี่ยเดือนหนึ่งอย่างน้อย 1-2 คน ตายไม่ได้ตาย เพราะตัวตาย แต่กลายเป็นนาย นาง ไม่ทราบชื่อ ถูกเป็นศพไร้ญาติ แต่ตามทะเบียนบ้านก็ยังมีชื่ออยู่ วันดีคืนดี ชื่ออาจถูกสวมสิทธิ เป็นปัญหาระดับชาติ ทางความมั่นคง แต่ทุกรัฐบาลก็มองข้าม เพียงเพราะนักการเมืองเหล่านี้เข้าใจว่า คนเหล่านี้ ไม่มีสิทธิมีเสียง แต่ทุกครั้งคนเหล่านี้มีโอกาส เขาได้ทำบัตร เขาก็จะใช้สิทธิเสมอ แต่คุณก็มองเขาเสมอ อืม.... สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้เป็นเพียงเรื่องราวส่วนหนึ่ง ที่เรามาเล่าสู่กันฟัง แต่ยังมีเรื่องราวอีกมากมายในพื้นที่ พร้อมบอกต่อให้สังคมรับรู้ แค่ปลายจมูกที่มองว่าสวยงาม แต่ถูกกลบไว้ ทั้งที่ข้างในเป็นซิลิโคนที่เน่าเฟะ 

สิ่งที่อิสรชนอยากจะบอกก็คือ มนุษย์ ทุกคนอยู่หได้เพราะมีเพื่อนเท่านั้น ความเป็นเพื่อนจะทำให้คนคนหนึ่งกล้าที่จะยืน กล้าที่จะเดิน เพราะเขารับรู้ไม่ได้อยู่คนเดียว แต่คุณมีเพื่อนที่อยู่กับเขา จำไว้ ว่าเพื่อน สำคัญที่สุดในการทำงานและการดำรงชีวิต สุดท้ายนี้ อิสรชนก็ต้องการเพื่อนจากสังคมในการแบ่งปัน เพื่อในเพื่อนอย่างอิสรชน ได้ทำงานเป็นเพื่อนกับคนข้างถนน ให้เขามีเพื่อน มีสิทธิที่เขาควรได้รับ ในฐานะเพื่อนมนุษย์ที่เท่ากันในสังคม


ท้ายสุดก่อนที่ลาจากกันไป ย้ำเตือนให้ทราบถึงสถานการณ์ที่มีแนวโน้มจะเกิดขึ้นในอนาคต ที่ต้องเผชิญ คือ การเปิดประชาคมอาเซียนและการก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุเต็มรูปแบบ ที่ยังมีปัญหามากมายรอคอยอยู่ข้างหน้า ทีสังคมต้องร่วมไม้ร่วมมือกันคือการสร้างกลไกภาคประชาสังคม ในการเฝ้าระวังปัญหาให้อยู่ในขอบเจตที่ควบคุมได้ ภาครัฐเองก็จำเป็นต้องเร่งเดินเครื่อง พระราชบัญญัติคุมครองคนไร้ที่พึ่งออกมาโดยเร็วที่สุดเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการสร้างกลไกการทำงานเชิงบูรณาการกับทุกภาคส่วนเพื่อดักปัญหาล่วงหน้ามากกว่าวิ่งไล่ตามปัญหา แบบที่ผ่าน ๆ มาในอดีต
ตลาดมีนบุรี
เราเชื่อว่าการแบ่งปันไม่มีที่สิ้นสุด
1. สมาคมสร้างสรรค์กิจกรรมอิสรชน เลขที่บัญชี 031-0-03432-9 ธ.กรุงไทย สาขาเซ็นทรัลปิ่นเกล้า หรือ
2. มูลนิธิอิสรชน 182-2-16241-6 ธ.ทหารไทย สาขาทองหล่อ เราเชื่อว่าการแบ่งปันไม่มีที่สิ้นสุด โทร 086-687-0902

7 มีนาคม 2555

เสียงสะท้อน....ที่อยากให้คุณได้อ่าน


 ·
        
          จากการลงพื้นที่ และทำงานกับผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะมากว่า 5 ปี จากคำกล่าวที่คนเรียกคนไม่เป็นคนว่า "คนจรจัด" จนติดปาก แต่กลับเรียกช้างว่าช้างเร่ร่อน แต่จัดประเภทคนไปอยู่ร่วมกับหมา เรียกอย่างกดทับเพราะเวลาเรียกหมาก็ "หมาจรจัด" จนอิสรชนพยายามให้สังคมเปลี่ยนวาทกรรมใหม่ที่มองเห็นความเป็นคนของเพื่อนมนุษย์ คือ ผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะ จนปัจจุบันคนเริ่มคุ้นชินและใช้กันมากขึ้น ถือเป็น นิมิตรหมายที่ดี 
        วันนี้พบCase นอนป่วยที่สวนหย่อมริมคลองหลอด ได้ประสานงานส่งต่อบ้านมิตรไมตรี กรุงเทพมหานคร ต้องขอขอบคุณบ้านมิตรไมตรีกรุงเทพมหานครที่ช่วยประสานส่งต่อเข้ารับการรักษา สังคมรับรู้ไหมว่ามีคนนอนป่วยริมถนน 2 เดือนที่ผ่านมาตายไปแล้ว 4 ราย เป็นศพไม่มีญาติตายข้างถนน   
        จากคำถามที่ว่าทำไมคนเหล่านี้ ไม่ไปหาหมอ เขาไปแต่ไปทุกครั้งจะถูกปฏิเสธทุกครั้ง บางทีเจ้าหน้าที่โทรเรียกรถพยาบาล ยังไม่มารับ บางรายพาไปส่งถึงโรงพยาบาลก็ต้องไปนั่งทะเลาะกับฝ่ายสังคมสงเคราะห์ เพราะไม่มีเงินนั้นไม่เท่าไหร่ แต่ต้องยอมรับว่าบางรายไม่มีบัตร บัตรหาย แต่ด่านแรกของการรับคนไข้ ก็จะมีทัสนคติการมองด้วยสายตา การว่า พูดจาไม่เพาะ ดูถูก เพราะการแต่งตัวที่สกปรก แค่เราคนธรรมดาไปหาถ้าซื้อของติดไม้ติดมือไปฝาก จะได้บริการอย่างเทวดา บางวันแต่ตัวธรรมดาก็ถูกมองด้วยสายตา มันคือความเคยชินไปเลย ทำให้คนที่สนามหลวงกลัวการไปหาหมอ ไม่ใช่เพราะกลัวหมอ แต่กลัวทัศนคติที่กดทับและแบ่งชนชั้นความเป็นคน เขาจึงไม่ไปหาหมอ ต้องจ็บใกล้ตายพอเราเจอทัน คนช่วยกันเรียกรถพยาบาลถ้าไม่มาก็ต้องพาส่งเอง บางรายเจอช้าไป พาส่งไม่ทันก็เสียชีวิต หรือไปเสียชีวิตเมื่อรถไปถึงโรงพยาบาล มันคือความจริงที่สังคมไม่มีทางรับรู้เพราะไม่ได้ถูกถ่ายทอดออกไป
           น่าอนาจกับสังคมนี้ที่ร้องไห้กับอะไรไม่รู้แต่รู้สึกสะใจหรือเพิ่งเฉยถ้ามีคนตาย หรือบางทีไม่รับรู้เลยด้วยซ้ำ สนามหลวงคลองหลอด สองเดือนที่ผ่านมาตั้งแต่เริ่มต้นปี 2555 คนสนามหลวงเสียชีวิตไปแล้ว 4 ราย โดยสังคมาไม่ได้รับรู้ ก็กลายเป็นศพไร้ญาติทั้งที่ความเป็นจริงมีญาติ แต่ไม่มีบัตร ณ เวลาตาย ไม่สามารถระบุได้ ว่าเป็นใคร ก็ต้องเอาไปฝังรอ 20 ปีล้างป่าช้า นำมาเผา คนตายก็ไม่ได้ตายตามสิทธิของทะเบียนราษฏร์ ซึ่งเป็นการง่ายต่อการสวมสิทธิในอนาคตถ้าคนนี้หาสาบสูญ ละครน้ำเน่าอย่างไรชีวิตคนที่ออกมาอยู่ข้างถนน แต่ละรายน้ำเน่ากว่านั้น 
           วาทกรรมที่ว่าเขารักอิสระ อิสรชนค้นพบว่ามันเป็นเพียงเกาะกำบังคนถามมากกว่านี้ั คนทุกคนออกมาอยู่ข้างถนน ไม่ได้รักอิสระ แต่เป็นด้วยสาเหตุที่เขาพบเจอซึ่งแตกต่างกันไป แต่พอเขาตอบสื่อ ตอบคนที่มาถามว่ารักอิสระ คนจะไม่ถามต่อและตัดสินเขาทันที อิสรชนทำงาน พบว่าคนทุกคนอยากกลับบ้าน แต่ทำไมถึงกลับไม่ได้ นี้แหละคือคำถามที่เราต้องหาและช่วยต่อจิ๊กซอให้แต่ละคนและก็จะพาเขากลับบ้านได้ 
            ณ วันนี้เราอิิสรชนขอเพียงการมองเห็นจากสังคมว่าเห็นเขาเท่ากันกับเรา มี 32 เท่ากัน มีความเป็นมนุษย์เท่ากัน ไม่ใช่มองเขาเป็นสัตว์ ที่เวลาขับรถผ่านเลื่อนกระจกมองเหมือนสิ่งประหลาด 
        วันเสาร์ที่ 3 มีนาคม ระหว่างเวลา 18.00-23.00 น. มูลนิธิอิสรชน ลงสำรวจพื้นที่ ตั้งแต่ แยกวิสุทธิกษัตริย์ ใต้สะพา่นปิ่นเกล้า เจดีย์ขาว สนามหลวง คลองหลอด ตรอกสาเก หลังกระทรวง บ้านหม้อ สะพานพุทธ แยกบ้านแขก โดยมี ดร.โสภณ พรโชคชัย นำทีม Sopon Pornchokchai Winnie Mbas JasMin Jaja เหม-มะ-พัด บุน-ย้อย-หยัด นที อิสสรชน สรวารี    การทำงานของอิสรขนไม่ว่าจะช่วยเหลือเบื้องต้นในปัจจัยสี่ การฟื้นฟู การพัมนาตนเอง ฝึกอาชีพ ส่งกลับบ้าน ทุกอย่างอิสรชนยังดำเนินงานภายใต้การสนับสนุนจากประชาชน แต่ด้วยสภาวะบ้านเมือง ณ ปัจจุบัน เศรษฐกิจที่อยู่ในขั้นของการฟื้นฟู ผู้บริจาคหลายท่านขออนุญาตถอนตัว ด้วยงบประมาณของตนเองไม่เพียงพอ จึงทำให้ สองเดือนที่ผ่านมาอิสรชนต้องทำงานระดมทุนอย่างหนัก และพยามยามเสนองานเข้ากระทรวง แต่ก็ยังไม่มีเสียงตอบบรับ แต่วันนี้การทำงานยังต้องเดินหน้า ไม่สามารถหยุดได้ เพราะปัญหาต่าง ๆ ยังไม่ได้รับการมองเห็นอย่างจริงจังร่วมแบ่งปันทุน แบ่งปันกำลังใจในการทำงาน กันได้นะค่ะ 1.สมาคมสร้างสรรค์กิจกรรมอิสรชน เลขที่บัญชี 031-0-03432-9 ธ.กรุงไทย สาขาเซ็นทรัลปิ่นเกล้า หรือ 2. มูลนิธิอิสรชน 182-2-16241-6 ธ.ทหารไทย สาขาทองหล่อ เราเชื่อว่าการแบ่งปันไม่มีที่สิ้นสุด มาเป็นอาสาสมัครเรียนรู้ร่วมกับเรา แลกเปลี่ยนร่วมกับเราได้ โทร 086-687-0902 

อนาจใจกับรัฐในยุคนี้เหลือเกิน รัฐกำลังทำไรอยู่ คนเร่ร่อน คนไร้บ้าน ที่หนัก คือผู้ป่วยข้างถนน ที่นับวันยิ่งเพิ่มจำนวนมากขึ้น สถานสงเคราะห์ก็ไม่เพียงพอต่อการรองรับ รพ.ก็มีข้อจำกัด ล่าสุดที่ไปคุยและเยี่ยม Case ที่รพ. นักสังคมฯทำได้ดีที่สุด คือยื้อเวลาให้มาก บางรายตายที่รพ.ก็มี เพราะไม่สามรถตามญาติได้ มีอาการป่วยทางจิต สื่อสารไม่ได้ สิ่งเหล่านี้ทำไม รัฐไม่มองมาเห็นบ้าง

คนสนามหลวงเอารั้วเหล็ก มาทำบ้านนอนริมคลองหลอด เพื่อกันฝน

สารคดี งานอิสรชน

1 มีนาคม 2555

ISSARACHON FOUNDATION

ISSARACHON FOUNDATION
                Issarachon Foundation, a non-profit organization in Thailand, has been active in organizing activities related to HIV/AIDs since 1996. Originating as a voluntary group namely “Issarachon Group”, it later evolved to “Issarachon Activities Center” in 2000, “Issarachon Association of Innovative Activities” in 2005, and recently “Issarachon Foundation” in 2011.
During the past 15 years, the organization has contributed to campaigns on prevention of HIV/AIDs in crowded communities both in Bangkok, Thailand’s capital city, and Bangkok outskirts; target groups have included beneficiaries who are basically difficult to reach such as youth in observation centers, youth in orphanages, vagabonds, homeless people, street/ park sex workers as well as newly released people from correction centers who live in public sites of cities. Additionally, activities have incorporated outreaches to campaign on prevention of HIV/AIDs in various regions i.e. Roi-Et, Udon Thani (northeast), Chiang Mai, Chiang Rai, Nan (north), Samut Sakhon, Samut Songkram (Bangkok outskirts), etc.
During 1996 – 2002, main activities were focused on campaigns on the prevention of HIV/AIDs within communities having inflicted patients and knowledge on how to take care of patients living in crowded communities in Bangkok.
During 2002 – present, emphasis has been shifted to target groups which appear to be difficult to reach in public areas; main campaigns have been placed on their self protection together with awareness building on responsibilities for themselves and toward the whole society.
Efforts in Making Acquaintance with Street Sex Workers
Firstly, the Foundation staff built up acquaintance, then evolved to trust among street sex workers, staff introduced themselves and their purposes, then gave out condoms; target groups would check whether condoms were for free, what days staff would visit them, etc. Later on target groups became acquainted and trust enough to seek advocacy on their health or other issues. 


Participation of Street Sex Workers and Other Volunteers
The Foundation has placed emphasis on empowering individuals of target groups to be able to take care of themselves while eager to help each other since one day the Foundation may have to discontinue such assistance/ visit.
Operational Approach
  1. 1.              Networking
Issarachon Foundation has naturally fostered networking among beneficiaries at each site (local level), then linking the networking of the local level to the community, regional, and national levels. Activities have included seminars on corresponding issues; sometimes public media has been utilized for fostering and maintaining the networking.
  1. 2.              Aids Education Mobile Service (AEMS)
AEMS has been carried out concurrently with the Foundation’s main activity which focuses on wanderers and homeless who live in public areas in big cities throughout the country. Campaign content incorporates prevention of HIV/AIDs, beneficiary’s rights under the Constitution to get access of public services, and channels to acquire clinical services from both public and private agencies.
Originally, every evening the Foundation staff used to walk through target areas (Sanam Luang and Klong Lord) with backpacks full of condoms and other teaching aides to make their mission become materialized. In 2007, a philanthropist donated a vehicle for their routine work; this has facilitated more frequency of visits at target sites both in Bangkok and other provinces (2 visits per week at each site). Each AEMS visit comprises provision of advice and knowledge on HIV/AIDs, self protection as well as other issues; visit hours extend from 15:00 to 23:00 hrs.

 Innovation
AEMS enables the Foundation staff to reach and provide services to more needy individuals at more frequency of time due to less limited constraints on distance and timing. As a complete unit, AEMS serves as a mobile library, theatre, and a collection of campaign supplies i.e. mascots, games, etc.


 



Impact Assessment
-         99.98% of street sex workers at Sanam Luang, Klong Lord and adjacent sites are confident to disclose themselves to get access to services of the Foundation.
-         Percentage of HIV/AIDs infection previously stood at 30% has declined to 15% owing to awareness on self protection and knowledge on how to use condoms.
Contact information.
• Contact information for two references who are well informed about the activities of the group or organization and who may be contacted by the selection committee. 
  1. Mrs.Juntavipa    Apisuk   President of Empower Foundation  
  2. Dr.Sopon    Pornchokchai  President of Thai Appraisal Foundation Tel 6689-922-9899
• Nominator :  Natee  Saravari
For the four people above, please supply the following information:
Name     : Mrs.Wilaipan    Luangya             Position    : Vice President            Organization  : ISSARACHON  FOUNDATION
Street Address  : 72  Watsukjai 12 Saikhongdi  Khongsamwa            City/Town  :        Bangkok               Postal Code :       10510
Province or state  :            Bangkok               Country :              Thailand               Telephone  : 6681-684-4645
Fax         :               001-662-943-0690             Email     :  Expo2513@hotmail.com
Website (if available)   :  www.issarachon-homeless.blogspot.com